การวัดแรงดันและกระแสด้วยมัลติมิเตอร์
เลือกพิสัยการวัดที่คาดว่าสูงกว่าค่าแรงดันที่เราจะวัด
ต่อมิเตอร์ โดยต้องแน่ใจว่าถูกขั้วมิเตอร์แบบดิจิตอลต่อผิดขั้วไม่เป็นไร แต่มิเตอร์แบบอนาลอกหากกลับขั้วจะทำให้เสียหายได้
หากค่าที่อ่านได้เกินเสกล: ต้องเอาสายแดงมิเตอร์ออกทันทีแล้วเลือกพิสัยที่สูงกว่าก่อนวัดใหม่
สายวัดมิเตอร์(โพรบ) สีแดงบวก(+) สีดำลบ(-)มัลติมิเตอร์อาจเสียหายได้ง่ายหากไม่ระมัดระวังในการใช้ จึงมีข้อควรระวังดังนี้:
ต้องเอาสายวัดออกจากวงจรทดสอบก่อนที่จะปรับเปลี่ยนพิสัยการวัด
ต้องตรวจดูพิสัยการวัดก่อนที่จะต่อเข้าวงจรทดสอบเสมอ
อย่าปรับมัลติมิเตอร์ทิ้งไว้ที่พิสัยการวัดกระแส(ยกเว้นเมื่อต้องการวัดกระแส)อันตรายสูงสุดทำให้มิเตอร์เสียหายเกิดจากพิสัยการวัดกระแส เพราะมึความต้านทานต่ำมาก
การวัดแรงดันที่จุดต่างๆเมื่อทดสอบวงจร เรามักต้องการทราบค่าแรงดันที่จุดต่างๆ เข่น แรงดันที่ขา 2 ของไอซีไทเมอร์ 555 ตอนแรกอาจยังงงว่าจะต่อสายวัดของมัลติมิเตอร์อย่างไร
การวัดแรงดันที่จุดต่างๆ
ต่อสายสีดำ (ลบ-) กับ 0V ซึ่งปกติคือขั้วลบของแบตเตอรี่หรือแหล่งจ่ายกำลัง
ต่อสายสีแดง (บวก +) กับจุดที่ต้องการวัดแรงดัน
สายสีดำสามารถต่อคงที่ไว้ที่ 0V แล้วใช้สายสีแดง เป็นโพรบวัดแรงดันที่จุดต่างๆ
อาจใช้ปากคีบ(ปากจรเข้)ต่อไว้ที่ปลายสายสีดำของมัลติมิเตอร์ เพื่อสะดวกในการคีบค้างไว้
เลือกพิสัยการวัดที่คาดว่าสูงกว่าค่าแรงดันที่เราจะวัด
ต่อมิเตอร์ โดยต้องแน่ใจว่าถูกขั้วมิเตอร์แบบดิจิตอลต่อผิดขั้วไม่เป็นไร แต่มิเตอร์แบบอนาลอกหากกลับขั้วจะทำให้เสียหายได้
หากค่าที่อ่านได้เกินเสกล: ต้องเอาสายแดงมิเตอร์ออกทันทีแล้วเลือกพิสัยที่สูงกว่าก่อนวัดใหม่
สายวัดมิเตอร์(โพรบ) สีแดงบวก(+) สีดำลบ(-)มัลติมิเตอร์อาจเสียหายได้ง่ายหากไม่ระมัดระวังในการใช้ จึงมีข้อควรระวังดังนี้:
ต้องเอาสายวัดออกจากวงจรทดสอบก่อนที่จะปรับเปลี่ยนพิสัยการวัด
ต้องตรวจดูพิสัยการวัดก่อนที่จะต่อเข้าวงจรทดสอบเสมอ
อย่าปรับมัลติมิเตอร์ทิ้งไว้ที่พิสัยการวัดกระแส(ยกเว้นเมื่อต้องการวัดกระแส)อันตรายสูงสุดทำให้มิเตอร์เสียหายเกิดจากพิสัยการวัดกระแส เพราะมึความต้านทานต่ำมาก
การวัดแรงดันที่จุดต่างๆเมื่อทดสอบวงจร เรามักต้องการทราบค่าแรงดันที่จุดต่างๆ เข่น แรงดันที่ขา 2 ของไอซีไทเมอร์ 555 ตอนแรกอาจยังงงว่าจะต่อสายวัดของมัลติมิเตอร์อย่างไร
การวัดแรงดันที่จุดต่างๆ
ต่อสายสีดำ (ลบ-) กับ 0V ซึ่งปกติคือขั้วลบของแบตเตอรี่หรือแหล่งจ่ายกำลัง
ต่อสายสีแดง (บวก +) กับจุดที่ต้องการวัดแรงดัน
สายสีดำสามารถต่อคงที่ไว้ที่ 0V แล้วใช้สายสีแดง เป็นโพรบวัดแรงดันที่จุดต่างๆ
อาจใช้ปากคีบ(ปากจรเข้)ต่อไว้ที่ปลายสายสีดำของมัลติมิเตอร์ เพื่อสะดวกในการคีบค้างไว้
แรงดันที่จุดใดๆหมายถึงความต่างศักด์ระหว่างจุดนั้นกับจุด 0V (ศูนย์โวลท์) ซึ่งปกติคือขั้วลบของแบตเตอรี่หรือของแหล่งจ่ายไฟ สำหรับแผนภาพวงจรจะมีตัวอักษร 0V หรือสัญลักษณ์ดินกำกับไว้
การอ่านเสกลแบบอนาลอกตรวจดูการตั้งสวิทช์พิสัยการวัดและเลือกดูเสกลที่เหมาะเจาะ บางพิสัยเมื่ออ่านได้แล้วต้องคูณหรือหารด้วย 10 หรือ 100 ดังตัวอย่างการอ่านจากข้างล่าง สำหรับแรงดันกระแสสลับ การแบ่งเสกลจะค่อนข้างต่างจาก เสกลอื่น ให้อ่านที่เสกลสีแดง
ตัวอย่างการอ่านจากเสกล:พิสัย DC 10V : 4.4V (อ่านจากเสกล 0-10 โดยตรง)พิสัย DC 50V : 22V (อ่านจากเสกล 0-50 โดยตรง)พิสัย DC 25mA : 11mA (อ่านจากเสกล 0-250 แล้วหารด้วย 10)พิสัย AC 10V : 4.45V (ใช้เสกลสีแดง แต่อ่านจากเสกล 0-10)
ตัวอย่างการอ่านจากเสกล:พิสัย DC 10V : 4.4V (อ่านจากเสกล 0-10 โดยตรง)พิสัย DC 50V : 22V (อ่านจากเสกล 0-50 โดยตรง)พิสัย DC 25mA : 11mA (อ่านจากเสกล 0-250 แล้วหารด้วย 10)พิสัย AC 10V : 4.45V (ใช้เสกลสีแดง แต่อ่านจากเสกล 0-10)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น