วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553

สัปดาห์ที่ 9 กฎของโอห์ม


กฎของโอห์ม
กฎของโอห์มกล่าวไว้ว่า เมื่ออุณหภูมิตัวนำคงที่ ความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุดในวงจรเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ กระแสไฟฟ้าจากความสัมพันธ์ สามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ V = IR V คือ ค่าความต่างศักย์ระหว่างจุดสองจุดใดๆ ในวงจรมีหน่วยเป็นโวลต์ (V)I คือ ค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลระหว่างจุดทั้งสอง มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)โดยที่ R เป็นค่าคงตัว หรือ ค่าคงที่ และเรียก R ว่าความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (Ω)ความต้านทาน 1 โอห์ม คือ ความต้านของตัวนำ ซึ่งเมื่อต่อปลายทั้งสองข้างของตัวนำนั้นเข้ากับความต่างศักย์ 1 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำนั้น 1 แอมแปร์จากความสัมพันธ์ดังกล่าว สามารถนำไปคำนวณปริมาณที่เกี่ยวข้องได้ ดังตัวอย่างตัวอย่าง ตัวต้านทานตัวหนึ่งอ่านค่า 300 Ωเมื่อนำไปต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟที่ค่าความต่างศักย์ 6 โวลต์ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทานตัวนี้เท่าไหร่
โจทย์กำหนด R = 300 ΩV= 6 VI = ?จากกฎของโอห์มจะได้ V = IRI = V /Rแทนค่าI = 6/300 = 0.002

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น